รูปภาพ / กิจกรรม


วีดีโอเกี่ยวกับ ร.พ.

↑ TOP โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ | โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ :: Suansaranrom Hospital
ตรวจเช็คสุขภาพใจ
  • สำหรับประเมินสุขภาพจิตเบื้องต้น
  • นโยบาย-มาตรการ
    ด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

    นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
    ด้านการอนุรักษ์พลังงาน

    VDO-Thailand Energy Awards 2023

    แบบคัดกรองวัณโรคในผู้ป่วยจิตเวช


    A PHP Error was encountered

    Severity: Notice

    Message: Trying to get property of non-object

    Filename: news/view.php

    Line Number: 64

    A PHP Error was encountered

    Severity: Notice

    Message: Trying to get property of non-object

    Filename: news/view.php

    Line Number: 64


    อ่าน : 3361 15 มิ.ย. 2565 15:08:23

    โดย : Admin SSR
    :: เรื่อง การใช้กัญชาทางการแพทย์ในผู้ป่วยจิตเวช


    การใช้กัญชาทางการแพทย์อาจส่งผลให้อาการทางจิตเวชรุนแรงขึ้น ดังนั้น ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคทางจิตเวช ดังต่อไปนี้ ควรได้รับคำแนะนำจากแพทย์ เภสัชกร พยาบาล ก่อนใช้กัญชา
    1. โรคจิตเภท (Schizophrenia) เป็นโรคที่มีความผิดปกติของบุคลิกภาพ มีความผิดปกติด้านการรับรู้ที่มีลักษณะเฉพาะเป็นแบบจำเพาะและอารมณ์เป็นแบบไม่เหมาะสม หรือ Blunted สติสัมปชัญญะและเชาวน์ปัญญามักดีอยู่ แม้ว่าจะมีการสูญเสียการรับรู้
    2. โรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder) โรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ระหว่างช่วงอารมณ์ซึมเศร้า (Depression) สลับกับช่วงที่อารมณ์ดีหรือหงุดหงิดมากกว่าปกติ (Mania) ระยะเวลาในแต่ละช่วงอาจอยู่เป็นสัปดาห์หรือเดือน โดยมีช่วงอารมณ์ปกติคั่นกลางได้ ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ด้วยอาการซึมเศร้าและคิดว่าตนเองเป็นโรคซึมเศร้า อย่างไรก็ตามแพทย์จะซักประวัติและติดตามลักษณะอาการขณะรักษาเพื่อใช้วินิจฉัยในการแยกโรค
    3. โรคซึมเศร้า (Depressive disorder) ความผิดปกติของการหลั่งสารเคมีในสมองส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ ทำให้พฤติกรรมของผู้ป่วยเปลี่ยนไปจนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน กลายเป็นคนมองโลกในแง่ลบ เศร้า หม่นหมอง หดหู่ เก็บเนื้อเก็บตัว รู้สึกเบื่อหน่ายกับสิ่งที่เคยสนุกหรือสบายใจไม่มีความสุข
    4. มีความคิดหรือพยายามกระทำการฆ่าตัวตาย (Suicidal idea or Suicidal attempt) เป็นการตั้งใจทำร้ายตนเองด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งเป็นผลให้ตัวเองเสียชีวิต หรือพยายามฆ่าตัวตาย แต่ในที่สุดยังไม่ถึงแก่ชีวิต
    5. ภาวะโรคจิตจากการใช้สารเสพติด เป็นผู้ที่มีอาการทางจิต ภายหลังจากเสพสารเสพติด ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน

     

    อัลบั้มภาพ



    เรื่องน่าสนใจ


    ประเมินสุขภาพจิตและให้ความรู้ด้านสุขภาพจ...

    หลักสูตร “การให้คำปรึกษาขั้นพื้นฐานสำหรั...

    การปฎิบัติงานดูแลสุขภาพจิตประชาชนในภารกิ...

    รับสมัครอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางระย...

    รับมืออย่างไร เมื่อผู้ป่วยติดสารเสพติดมีอาการลงแดง

    ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

    ล่าสุด


    การประชุมคณะกรรมการบริหารเขตสุขภาพที่ 11 ครั้งที่ 1/2568

    ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนนโยบาย...

    อบรมการดูแลผู้ป่วยพฤติกรรมก้าว...

    โครงการประชุมเชิงปฎิบัติการเสร...

    โครงการประชุมเชิงปฎิบัติการภาว...

    การประชุมเชิงปฎิบัติการเสริมสร...