รูปภาพ / กิจกรรม


วีดีโอเกี่ยวกับ ร.พ.

↑ TOP โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ | โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ :: Suansaranrom Hospital
ตรวจเช็คสุขภาพใจ
  • สำหรับประเมินสุขภาพจิตเบื้องต้น
  • นโยบาย-มาตรการ
    ด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

    นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน
    ด้านการอนุรักษ์พลังงาน

    VDO-Thailand Energy Awards 2023

    แบบคัดกรองวัณโรคในผู้ป่วยจิตเวช


    A PHP Error was encountered

    Severity: Notice

    Message: Trying to get property of non-object

    Filename: news/view.php

    Line Number: 64

    A PHP Error was encountered

    Severity: Notice

    Message: Trying to get property of non-object

    Filename: news/view.php

    Line Number: 64


    อ่าน : 12663 28 มิ.ย. 2565 09:13:49

    โดย : Admin SSR
    :: เรื่อง การจัดการกับภาวะหวาดระแวง/หลงผิด


    หวาดระแวง (Paranoid) คือภาวะผิดปกติทางความคิดที่ทำให้เคลือบแคลงสงสัยหรือระแวงผู้อื่นอย่างไม่มีเหตุผล ผู้ป่วยอาจรู้สึกว่า มีคนจ้องทำร้ายอยู่ตลอดเวลา คิดว่าคนรอบข้างไม่ชอบตนเอง หรือไม่ไว้ใจผู้อื่น อาการเหล่านี้ เรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่า "อาการหลงผิด"
     
    ด้านผู้ป่วย
    1. เขียนบันทึก สังเกต/เขียนสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเอง เช่น สิ่งที่ทำให้หวาดระแวง/หลงผิด ความถี่ของอาการพฤติกรรมตนเอง และเหตุการณ์อื่นๆที่เกิดขึ้นตามมา เพื่อให้ทราบสาเหตุและแนวโน้ม เมื่อมีอาการหวาดระแวง/หลงผิดเกิดเมื่อไหร่ และอะไรที่ช่วยให้รู้สึกดีขึ้นได้
    2. ปรึกษาคนรอบข้าง ระบายความเครียด กังวล
    3. ทำกิจกรรม ใช้เวลากับคนในครอบครัว เพื่อน คนรอบข้าง
    4. ผ่อนคลายความกังวล หางานอดิเรก
    5. ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง พักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกาย รับประทานอาหารให้ครบถ้วน
    6. เลี่ยงการใช้สารเสพติด
     
    ด้านญาติ
    1. สังเกตอาการ อะไรที่เป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหวาดระแวง
    2. พูดคุยเปิดใจ ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับรู้มุมมองที่ต่างออกไป ลดความเครียด
    3. ทำความเข้าใจ ความรู้สึก ไม่มองว่าเป็นเรื่องไร้เหตุผล แต่ควรเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของผู้ป่วย และหมั่นสังเกตถึงความรุนแรงของอาการและพยายามช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้นเมื่อเกิดอาการหวาดระแวง
    4. ช่วยเหลือเต็มที่ คอยสอบถามและเสนอตัวให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้ผู้ป่วยมั่นใจว่ามีคนให้พึ่งพาได้ในยามเผชิญปัญหา
    5. เคารพการตัดสินใจ ไม่ตัดสินใจแทนผู้ป่วย
    6. แนะนำสายด่วน 1323 พร้อมรับฟังและให้คำปรึกษาตลอด 24 ชม.
    7. ดูแลตัวเองให้ดี พักผ่อนและดูแลสุขภาพกายและใจให้เป็นปกติอยู่เสมอ

    อัลบั้มภาพ



    เรื่องน่าสนใจ


    ประเมินสุขภาพจิตและให้ความรู้ด้านสุขภาพจ...

    หลักสูตร “การให้คำปรึกษาขั้นพื้นฐานสำหรั...

    การปฎิบัติงานดูแลสุขภาพจิตประชาชนในภารกิ...

    รับสมัครอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางระย...

    รับมืออย่างไร เมื่อผู้ป่วยติดสารเสพติดมีอาการลงแดง

    ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

    ล่าสุด


    การประชุมคณะกรรมการบริหารเขตสุขภาพที่ 11 ครั้งที่ 1/2568

    ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนนโยบาย...

    อบรมการดูแลผู้ป่วยพฤติกรรมก้าว...

    โครงการประชุมเชิงปฎิบัติการเสร...

    โครงการประชุมเชิงปฎิบัติการภาว...

    การประชุมเชิงปฎิบัติการเสริมสร...